วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เลิกใช้เครื่องหมายฮาลาล







ด่วน "เลิกใช้เครื่องหมายฮาลาล"...????

         ผู้ตรวจการแผ่นดินวินิจฉัย และสภาความมั่นคงแห่งชาติได้วินิจฉัย แล้ว ฮาลาลยังไม่มีกฎหมายรองรับ และ ทุกมาตรฐานฮาลาลที่ดำเนินการอยู่นี้ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐแต่อย่างใดเป็นการแอบอ้างอิงอำนาจรัฐผู้ประกอบการ ที่ได้รับความเสียหายจากเครื่องหมาย"ฮาลาล " สามารถฟ้องร้องค่าเสียหายดำเนินคดี ได้ทั้งทางแพ่งและอาญาได้ ต่อ....


สำนักจุฬาราชมนตรีและองค์กรอิสลามกลางแห่งประเทศไทย..!!!!!?

ที่ 027/2559

กลุ่มชาวพุทธพลังแผ่นดิน 
63/47 ม. 7 ถ. บรมราชชนนี
แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา
กรุงเทพฯ 10700 โทร 087 673 4999

                      วันที่ 4 พฤศจิกายน 2559

เรื่อง ขอให้ระงับตราเครื่องหมายฮาลาลในสินค้าทั่วประเทศ

เรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

อ้างถึงหนัง ซื้อด่วนที่สุดสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินที่สภ. 19/8 37 ลงวันที่ 5 กันยายน 2559 
                    และสภาความมั่นคงแห่งชาติที่ดร 0803/7317 ลงวันที่ 20 กันยายน 2559

             ตามที่ในปัจจุบันนี้ ได้มีสินค้าจำนวนมากติดเครื่องหมายฮาลาลไว้คู่กับเครื่องหมาย อย. ของกระทรวงสาธารณสุข เสมือนว่าเป็นเครื่องหมายที่รับรองโดยรัฐบาล และมีกฎหมายบังคับให้สินค้าจำเป็นต้องติดสัญลักษณ์ฮาลาลดังกล่าว และเจ้าหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขบางคน และบางหน่วยงานก็แนะนำผู้ที่มาขอเครื่องหมาย อย. ให้ทำการติดเครื่องหมายฮาลาลนั้นไปพร้อม ๆ กันด้วย

            เครื่องหมายฮาลาลนั้น ได้รับรองการวินิจฉัยจากผู้ตรวจการแผ่นดินแล้วว่ายังไม่มีกฎหมายรองรับ และ องค์กรมาตรฐานฮาลาลที่ดำเนินการเรื่องนี้ ก็ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐแต่อย่างใด ทั้งสภาความมั่นคงแห่งชาติก็ได้วินิจฉัยในเรื่องเดียวกันนี้มาแล้วว่า หน่วยงานที่ดำเนินการเรื่อง ฮาลาล นี้นั้น คือ คณะกรรมการกลาง อิสลามแห่งประเทศไทย ซึ่งผู้ที่ได้รับความเสียหายเรื่องนี้สามารถดำเนินการฟ้องร้องได้ทั้งการปกครองและทางแพ่งได้ด้วย จึงสรุปได้ว่า ทั้งผู้ดำเนินการเรื่องฮาลาลเครื่องหมายฮาลาลเป็นสิ่งที่ขัดต่อกฎหมาย

             เนื่องจากหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุข ที่ดำเนินการเกี่ยวกับการขอเครื่องหมาย อย. ให้กับผู้ที่มาขอเครื่องหมายมาตรฐานอาหารและยานั้นมีหลายหน่วยงาน ทั้งส่วนที่เป็นเรื่องอาหาร เรื่องเวชภัณฑ์ยาและเครื่องสำอาง นอกจากนี้ ยังมีส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอันเป็นการยากที่จะทำการร้องเรียนไปยังทุกหน่วยงานให้ครบถ้วนได้

จึงเรียนมายังรัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขให้ออกคำสั่งกระทรวงลงไปยังหน่วยงานต่างๆที่รับผิดชอบเรื่องนี้เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานยุติการสนับสนุนและยุติการแนะนำให้เจ้าของผลิตภัณฑ์ที่มาของเครื่องหมาย อย. กับเจ้าหน้าที่รัฐให้ติดเครื่องหมายฮาลาลไปพร้อมกันด้วย มิเช่นนั้นแล้วก็จะเข้าข่ายเป็นเจ้าหน้าที่รัฐดำเนินการผิดกฎหมายเสียเองและร่วมกระทำความผิดกับผู้ดำเนินการเรื่องฮาลาลด้วยจึง ร้องเรียนมาเพื่อดำเนินการตามที่ร้องเรียนให้ถูกต้องและยุติธรรมสนับสนุนต่อไปขอแสดงความนับถือ

ดร.จรูญ วรรณกสิณานนท์

ผู้แทนกลุ่มชาวพุทธพลังแผ่นดิน

=================================

" ฮาลาล " อันตรายต่อประเทศชาติ

           สัญลักษณ์ “ฮาลาล” ที่ติดอยู่ตามสินค้าเกือบทุกยี่ห้อในเวลานี้ คนไทยกว่า90 % มองเป็นเรื่องธรรมดา แต่อยากจะบอกว่ามันซ่อนอันตรายมหาศาลไว้ใต้สัญลักษณ์นี้ถึงกับอาจสิ้นชาติเลยทีเดียว
ก่อนอื่นขอแนะนำให้รู้ก่อนว่า ฮาลาล เป็นคำของศาสนาอิสลาม แปลว่า สิ่งที่พระเจ้าอนุญาตให้ใช้ หรือให้รับประทานได้ เช่น (1) ทรัพย์ที่ไปฆ่าคนไม่นับถือพระเจ้าได้มาก็ถือว่าเป็นฮาลาล อนุญาตให้ใช้ได้ และ(2) อาหารที่อนุญาตให้รับประทานได้ โดยเว้น เนื้อสุกร, สุนัข, สัตว์ที่ตายเอง, เลือด, และสัตว์ที่ฆ่าโดยไม่ออกนามของอัลเลาะห์ (ซูเราะห์ที่ 2 ข้อ 173 )นอกนั้นถือว่าเป็นฮาลาลทั้งหมด แต่ยังมีข้อยกเว้นว่า กรณีที่ไม่สามารถหาอาหารอื่นรับประทานได้ ก็อนุญาตให้รับประทานได้เป็นบางครั้งคราว


            ด้วยอาศัยหลักการข้อนี้ คณะกรรมการอิสลามบางกลุ่ม ได้ออกตราสัญลักษณ์ฮาลาลนี้ขึ้นมา แล้วนำไปจดลิขสิทธิ์ไว้ที่กระทรวงพาณิชย์เมื่อปี 2539 ซึ่งตามกฎหมายนั้นจดเพื่อระบุสินค้าตัวเอง เป็นยี่ห้อของตัวเอง ห้ามคนอื่นเลียนแบบเท่านั้น แต่คณะบุคคลดังกล่าวกลับไม่มีสินค้าเป็นของตัวเอง แต่ได้นำสัญลักษณ์ฮาลาลนี้ไปแอบอ้างกับบริษัทต่าง ๆ ว่า ฮาลาลมีกฎหมายรองรับทุกบริษัทต้องติด แล้วเรียกเก็บค่าฮาลาลทั้งเป็นรายปี และรายเดือน รวมแล้วนับแสนบาทต่อบริษัท


              ยกตัวอย่าง การขอฮาลาลใหม่และต่ออายุ 10,000 - 20,000 บ./ปี ค่ารับรอง 10,000-20,000 บ,/ปี ค่าที่ปรึกษา 2,000 บ./ด (12 x ปี = 24,000) ค่าตรวจ 2,500บ./ด. (12 x ปี = 27,500) ค่าที่พักในการไปตรวจ 800บ./ด. (12x ปี = 9,600) ค่าหนังสืออื่นๆ 5,500บ./ปี ค่าสินค้ารายการละ 500บาท (สมมติว่าบริษัทนั้นมีสินค้า 100รายการ x 500 = 50,000บ./ปี สรุปแล้วเกินแสนบาทต่อปี นอกจากนี้ เวลาต่อใหม่ (ซึ่งก็เท่ากับขอใหม่ทุกปี) ต้องต่อก่อนสิ้นปี 60 วันหรือ 2 เดือน เท่ากับว่าโกงบริษัทต่างๆ ไปปีละ 2 เดือนแล้ว
เงินที่ได้จากค่าเรียกเก็บเหล่านี้ คาดว่าน่าจะเป็นหลักหลายหมื่นล้านบาทต่อปี หรือเป็นแสนล้าน แต่ที่สำคัญเงินเหล่านี้ไม่เสียภาษี และไม่นำเข้าเป็นรายได้รัฐหรือกระทรวงการคลังเลย ในขณะเดียวกันกลุ่มบุคคลดังกล่าวยังได้เสนอร่างพรบ.ฮาลาลต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ(สนช.)เพื่อใช้เป็นกฎหมายบังคับ โดยในมาตรา 70 กำหนดว่า ไม่ต้องนำส่งเงินเข้ากระทรวงการคลัง
นอกจากนี้ ในมาตรา ๕๔ ยังระบุรายได้ของสำนักงานฮาลาลต่อไป ดังนี้
(๑) เงินที่รัฐบาลจ่ายให้เป็นทุนประเดิม

  • (๒) เงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรให้เป็นรายปี
  • (๓) เงินอุดหนุนจากภาคเอกชนหรือองค์กรอื่นทั้งจากต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ
  • (๔) รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้รับจากการลงทุน ร่วมทุน หรือการใช้ทรัพย์สินของสำนักงาน
  • (๕) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศหรือบริจาคให้
            ในวรรคท้ายยังระบุซ้ำอีกว่า รายได้ของสำนักงานไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ

           เนื่องจากฮาลาลเป็นที่มาของรายได้มหาศาล คณะบุคคลดังกล่าวจึงได้ขยายความหมายของฮาลาลออกไปให้ครอบคลุมทั้งอาหาร, เวชภัณฑ์ยา, เครื่องสำอาง, และเครื่องใช้ทุกชนิด จนกระทั่งเครื่องบินฮาลาล ท่าเรือฮาลาล ซึ่งจะทำให้มีเงินเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย 

            ฮาลาลมีการทำเป็นขบวนการหนักขึ้นไปอีก โดยส่งกลุ่มบุคคลตะเวนออกไปบังคับกับพ่อค้าแม่ค้าตามท้องตลาดต่างๆ ว่า ถ้าไม่มีเครื่องหมายฮาลาลห้ามจำหน่าย เป็นเหตุนำความเดือดมาให้กับประชาชนจำนวนมาก ยกตัวอย่างที่จังหวัดสุพรรณบุรี มีชาวบ้านนำสมุนไพรใส่ถุงพลาสติกมาว่างขายในงานวัด คนเหล่านี้ไปถามว่ามีฮาลาลไหม ถ้าไม่มีจับนะ ห้ามขาย ทำให้ชาวบ้านต้องรีบเก็บของหนี
จากเรื่องฮาลาลนี้ ทำให้เกี่ยวโยงไปถึงเรื่องการเร่งสร้างมัสยิดให้ครบทุกจังหวัดด้วย เพราะในพรบ.บริหารกิจการศาสนาอิสลาม 2540 กำหนดว่า ถ้าจังหวัดใดมีมัสยิด 3 แห่งขึ้นไป ให้มีคณะกรรมการประจำจังหวัดนั้น ๆ โดยมีหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัด จำนวน 9 -30 คน และมีหน้าที่เก็บเงินฮาลาลในจังหวัดนั้นๆ ถ้ายังไม่มีให้ส่วนกลางเป็นผู้เก็บ ต่อจากนั้น มัสยิดจะนำปัญหาหลายอย่างตามมาแก่ชุมชมอีกด้วย เช่น ส่งเสียงรบกวนวันละ 5 ครั้ง และอาจเป็นที่ซ่องสุมของผู้ก่อการร้าย หรือพวกลักรอบเข้าเมืองผิดกฎหมายก็ได้


           ขณะนี้ในภาคอีสาน ได้มีกลุ่มบุคคลนำเงินไปปล่อยกู้ให้กับเกษตรกรภาคอีสานกว่าครอบครัวละล้านบาท โดยอ้างว่าเงินต่างชาติให้ดอกเบี้ยต่ำ ซึ่งเงินจากฮาลาลน่าจะมีส่วนในเรื่องนี้ด้วย ดังนั้น เงินจากฮาลาลจึงอาจเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของประเทศและประชาชนทุกคน

           อีกอย่างหนึ่ง การบังคับให้สินค้าทุกอย่างต้องติดเครื่องหมายฮาลาลนั้น เป็นการละเมิดสิทธิของคนที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นคนพุทธ คริสต์ พราหมณ์ฮินดู เต๋า ซิก และอื่นๆ แบบไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ และต้องจำยอมใช้สินค้านั้นๆ แม้จะไม่เต็มใจใช้ก็ตาม ซึ่งเข้าข่ายละเมิดกฎหมายรัฐธรรมนูญของไทย ที่ว่าด้วยสิทธิและเสรีภาพของประชาชน 


         ถ้าหากพรบ.ฮาลาลผ่านสภาได้ อันตรายจากฮาลาลอาจถึงกาลสิ้นชาติเลยทีเดียว โดยพอสรุปได้ดังนี้
          อันตรายต่อคนไทยทุกคน ต่อไปสินค้าทุกอย่างต้องติดฮาลาล เป็นการเรียกเก็บเงินจากคนไทยทุกคน เท่ากับมีรัฐซ้อนอยู่กับประเทศไทยอีกรัฐหนึ่ง ที่สำคัญเงินที่เก็บได้ทั้งหมดเข้าองค์กรอิสลามอย่างเดียว รัฐไม่ได้ประโยชน์ใดๆ เลย แถมยังต้องเสียเงินอุดหนุนให้เขาเป็นรายปีอีกต่างหาก 

           อันตรายต่อคนมุสลิมระดับล่าง คือ กรรมการฮาลาลนี้เป็นหน่วยงานรัฐหนึ่งที่ไม่เป็นส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หรืออื่นๆ ไม่อยู่ภายใต้กฎหมายแรงงานใดๆ เลย ซึ่งคนงานมุสลิมที่ทำงานในโรงงานฮาลาลจะไม่มีสิทธิ์รับสวัสดิการใดๆ และจะฟ้องร้องใดๆ ไม่ได้ด้วย

            อันตรายต่อประเทศ คือ เงินรายได้มหาศาลมากกว่าปีละแสนล้านบาท อาจนำมาซื้อประเทศไทยทั้งหมดเลยก็ได้ หรือ นำมาเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของประเทศได้อย่างไร้ขอบเขต ข้อนี้แหละจะเป็นอันตรายถึงกับสิ้นชาติกันเลยทีเดียว 

           เพราะเห็นอันตรายเช่นนี้ ได้มีกลุ่มชาวพุทธพลังแผ่นดิน ออกมาร้องเรียนหน่วยงานของรัฐหลายหน่วยงาน ตั้งแต่ 16 มิถุนายน 2559 เป็นต้นมา และได้รับการวินิจฉับจากผู้ตรวจการแผ่นดิน ที่ผผ 19/ 837 วันที่ 5 ก.ย.59 ว่า กองทุนพัฒนามาตรฐานฮาลาลที่ดำเนินการเรื่องฮาลาลนี้ทั้งหมด ยังมิได้มีสถานะเป็นกฎหมาย จึงมิได้มีสถานะเป็นหน่วยงานของรัฐ ก็ถือว่าเป็นแอบอ้างกฎหมายดำเนินการแบบผิดกฎหมายนั่นเอง และสภาความมั่นคงแห่งชาติ ก็ได้วินิจฉัยเรื่องเดียวกันนี้มา ที่นร0803/7317วันที่ 20 ก.ย.59 โดยระบุว่า คณะกรรมการอิสลามแห่งประเทศไทยเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ และดำเนินการในเรื่องดังกล่าว ควรที่ผู้เสียหายจะได้ใช้ช่องทางตามกฎหมายที่มีทั้งทางปกครองและทางแพ่ง รวมถึงแจ้งให้หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงรับไปพิจารณาตามอำนาจหน้าที่

            จาก 2 หน่วยงานของรัฐที่วินิจฉัยมาแล้วนี้ ก็ถือว่าผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับฮาลาลนี้ ได้ดำเนินการผิดกฎหมายและอาจเป็นอันตรายต่อประเทศชาติแน่นอน นอกจากนี้ยังเหลือหน่วยงานของรัฐที่ร้องเรียนไป คือ ผู้ตรวจการแผ่นดินให้ตรวจสอบการกระทำของคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ปปง. ปปช. สตง. อย. และกรมสรรพากร เป็นต้น ซึ่งขณะนี้รอแต่ละหน่วยงานกำลังดำเนินการอยู่

           จากเหตุผลทั้งหมดที่แสดงมา ทำให้ทราบได้ว่า สัญลักษณ์ฮาลาลที่ข้างผลิตภัณฑ์สินค้าอุปโภคบริโภคนั้น มันซ่อนอันตรายที่คนทั่วไปมองไม่เห็นเอาไว้ ควรที่หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยจะร่วมกันตรวจสอบและหาทางป้องกัน ก่อนที่หายนะจะเกิดขึ้นกับประเทศไทยต่อไป และก่อนที่จะสายเกินแก้ เพื่อความเจริญมั่นคง และเพื่อความสงบสุขของคนในชาติต่อไป

28 ตุลาคม 2559

<<<<<<<<<<<<<<>>>>>>>>>>>>>>>>>>

Big c ยกเลิกฮาลาลแล้ว ไม่ต่อสัญญา เพราะรู้เท่านั้น ฮาลาล..??? 
อ่านเลยตามนี้แล้วท่านจะหายสงสัย..???

หมวด ๖

สำนักงานมาตรฐานฮาลาลแห่งชาติ

_______________________________


มาตรา ๕๑ให้สำนักงานเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น
กิจการของสำนักงานไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน

มาตรา ๕๒ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของสำนักงาน

มาตรา ๕๓ ภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามมาตรา ๔๙ สำนักงานอาจกระทำการดังต่อไปนี้ได้ด้วย
  • (๑) จัดให้ได้มา ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพยสิทธิต่างๆ
  • (๒) ก่อตั้งสิทธิหรือกระทำนิติกรรมใดๆทั้งในและนอกราชอาณาจักร
  • (๓) ลงทุนหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสำนักงานโดยไม่ขัดต่อบัญญัติศาสนาอิสลาม
  • (๔) จัดให้มีกองทุนเพื่อการศึกษา การค้นคว้า และการวิจัยเพื่อพัฒนา ตลอดจนการฝึกอบรมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ฮาลาลและมาตรฐานฮาลาล
  • (๕) กระทำการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ของสำนักงาน

มาตรา ๕๔ รายได้ของสำนักงานมีดังต่อไปนี้
  • (๑) เงินที่รัฐบาลจ่ายให้เป็นทุนประเดิม
  • (๒) เงินอุดหนุนทั่วไปที่รัฐบาลจัดสรรให้เป็นรายปี
  • (๓) เงินอุดหนุนจากภาคเอกชนหรือองค์กรอื่นทั้งจากต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ
  • (๔) รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้รับจากการลงทุน ร่วมทุน หรือการใช้ทรัพย์สินของสำนักงาน
  • (๕) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศหรือบริจาคให้
  • รายได้ของสำนักงานไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ

มาตรา ๕๕ ทรัพย์สินของสำนักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี และบุคคลใดจะยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับสำนักงานในเรื่องทรัพย์สินของสำนักงานมิได้

มาตรา ๕๖ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการและคณะทำงานได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด
มาตรา ๕๗ ให้สำนักงานจัดทำงบการเงินส่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี และทำรายงานแสดงผลการดำเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการ พร้อมทั้งให้ส่งงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วให้กระทรวงการคลังทราบด้วย
ให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีของสำนักงานแล้วรายงานผลการสอบบัญชีเสนอต่อรัฐมนตรี
            ให้สำนักงานโฆษณารายงานประจำปีที่สิ้นไป โดยแสดงงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีรับรองว่าถูกต้องแล้ว

หมวด ๘
กองทุนพัฒนามาตรฐานฮาลาล
_______________________________

มาตรา ๖๗ ให้มีกองทุนพัฒนามาตรฐานฮาลาล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนสำหรับใช้จ่ายในการดำเนินงานของคณะกรรมการและสำนักงาน การส่งเสริมการส่งออกและการจัดการตลาดผลิตภัณฑ์ฮาลาล ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการพัฒนาองค์กร ระบบงาน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับกิจการฮาลาลตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๖๘ กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สินดังต่อไปนี้
  • (๑) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้เป็นครั้งคราวตามความเหมาะสม
  • (๒) เงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาตการเป็นคณะที่ปรึกษาระบบงานฮาลาล ผู้ตรวจรับรองฮาลาล ที่ปรึกษาฮาลาลประจำโรงงานหรือสถานประกอบการ ผู้ตรวจการฮาลาล และผู้เชือดสัตว์
  • (๓) เงินสมทบตามมาตรา ๖๙ 
  • (๔) ค่าปรับทางปกครองหรือเงินเพิ่มที่จัดเก็บตามพระราชบัญญัตินี้
  • (๕) เงินหรือผลประโยชน์ที่ได้รับอันเนื่องมาจากการลงทุนหรือการประกอบกิจการตามที่รับอนุญาตจากคณะกรรมการ ทั้งนี้โดยต้องไม่ขัดต่อบัญญัติศาสนาอิสลาม
  • (๖) เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่ได้รับจากภาคเอกชนทั้งภายในและภายนอกประเทศ รัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ 
  • (๗) เงินส่วนแบ่งจากกำไรที่ผู้ประกอบการได้รับจากการส่งออกผลิตภัณฑ์ฮาลาล ตามอัตราที่คณะกรรมการกำหนด 
มาตรา ๖๙ ให้คณะที่ปรึกษาระบบงานฮาลาล ผู้ตรวจรับรองฮาลาลและผู้ตรวจการฮาลาล มีหน้าที่นำเงินสมทบส่งเข้ากองทุนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกำหนด
บุคคลตามวรรคหนึ่งผู้ใดไม่จ่ายเงินสมทบภายในเวลาที่กำหนดหรือจ่ายไม่ครบตามจำนวนที่กำหนด ต้องจ่ายเงินเพิ่มเป็นค่าปรับในอัตราร้อยละสองต่อเดือนของเงินสมทบที่ยังไม่ได้นำส่งหรือของเงินสมทบที่ยังขาดอยู่นับแต่วันถัดจากวันที่ต้องนำส่งเงินสมทบ

มาตรา ๗๐ รายได้ของกองทุนให้นำส่งเข้ากองทุนเพื่อใช้ในกิจการตามที่กำหนดไว้ ในพระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ

มาตรา ๗๑ เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการดังต่อไปนี้
  • (๑) จัดสรรเป็นเงินอุดหนุนให้แก่สำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดตามสัดส่วนที่คณะกรรมการกำหนด
  • (๒) เป็นเงินช่วยเหลือและอุดหนุนกิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบงานหรือมาตรฐานฮาลาลตามที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารกองทุน
  • (๓) เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการกองทุน

มาตรา ๗๒ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุนมีจำนวนไม่เกินห้าเจ็ดคนเพื่อทำหน้าที่บริหารและจัดการกองทุนเป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด และให้นำบทบัญญัติในมาตรา ๕๕ มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ และมาตรา ๕๙ มาใช้บังคับกับการดำเนินการของกองทุนโดยอนุโลม

มาตรา ๗๓ ในกรณีที่มีการยุบเลิกกองทุนให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งเป็นผู้ชำระบัญชีและเสนอรายงานการชำระบัญชีที่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจสอบรับรองแล้วต่อคณะรัฐมนตรี หากมีเงินหรือทรัพย์สินคงเหลือให้โอนแก่กองทุนที่มีวัตถุประสงค์ใกล้เคียง ทั้งนี้ โดยต้องทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง

อัตราค่าธรรมเนียม
______________

  • (๑) ใบรับรองฮาลาล ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท
  • (๒) ค่ารับรองผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ละ ๕๐๐ บาท
  • (๓) ใบอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายรับรองฮาลาล ฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท
  • (๔) ใบรับรองฮาลาล และใบอนุญาตให้ใช้เครื่องหมาย
  • รับรองฮาลาล ฉบับภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น ฉบับละ ๕๐๐ บาท
  • (๕) ใบแทนใบรับรองฮาลาลและใบอนุญาตให้ใช้
  • เครื่องหมายรับรองฮาลาล ฉบับละ ๑๐๐ บาท
  • (๖) การต่ออายุใบอนุญาตครั้งละเท่ากับค่าธรรมเนียมใบอนุญาตแต่ละประเภท

           ในแต่ละปี ให้คิดคำนวณจำนวนค่าธรรมเนียมแต่ละรายการเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคของปีที่ล่วงมาตามที่กระทรวงพาณิชย์คำนวณเพื่อใช้ในราชการ โดยหากมีเศษสตางค์ให้ปัดทิ้ง

บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญ
ประกอบร่างพระราชบัญญัติบริหารกิจการฮาลาล (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. ....
_____________________________

(ร่างพระราชบัญญัติบริหารกิจการฮาลาล - สภาผู ...)
======================================
เตือนพี่น้องมุสลิม!! ซื้อไก่ใน Big C ดูตราฮาลาลให้ดี อาจมีไก่ฮารอมปลอมปน

สำนักข่าวมุสลิมไทยโพสต์


            หลังที่คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ได้มีเอกสารยกเลิกการหนังสือสำคัญให้ใช้เครื่องหมายรับรองฮาลาล ฉบับที่ 9/2558 ให้แก่บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ (มหาชน) ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ เนื้อเป็ด เนื้อไก่ เนื้อวัว แบบบรรจุ เนื่องจากผู้ประกอบการไม่ประสงค์ที่จะขอต่อายุฮาลาล ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม พี่น้องมุสลิมที่ไปใช้บริการ บิ๊กซี ซุปเปอร์เซ็นเตอร์ หรือบิ๊กซี มินิ ควรตรวจสอบให้ดีว่าผลิตภัณฑ์จำพวกเนื้อไก่ เนื้อวัว หรือเนื้อเป็ดในห้างหรือร้านสะดวกซื้อดังกล่าวมีตราฮาลาลหรือไม่ และให้หลีกเลี่ยงที่จะซื้อสินค้าจำพวกเนื้อไก่ เนื้อวัว หรือเนื้อเป็ดของบิ๊กซี เพราะทางห้างหรือผู้ผลิตดังกล่าวจะไม่เข้าสู่กระบวนหรือขั้นตอนที่ฮาลาลแล้ว จึงเรียนแจ้งมาให้ทราบโดยทั่วกัน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น

Powered By Blogger

หน้าเว็บ

ผู้ติดตาม