วันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ตากใบ เครื่องมือหากิน NGO ตกยาก


            ผ่านมา 10 ปีเต็ม ในกรณีตากใบ รัฐก็เยียวยาแล้ว เข้าไปดุแลครอบคัวผู้ที่ได้รับผลกระทบแล้ว แต่บรรดาาเหล่า NGO นักวิชาการมหาลัยบางแห่งใน 3 จชต นักศึกษากลุ่มพีมาส และสื่อในโลกออนไลด์บางสำนัก ก็ยังคงเอามาหากินกับคนตาย กี่ปี กี่ปี ก็เอามาหากินเพราะมันทำเงินให้พวกเค้าได้ รวมทั้งยังสามารถสร้างความแตกแยกมากยิ่งขึ้นในสังคม 3 จชต เพราะพวกเค้า คือ ปีกการเมืองขบวนการ BRN !

กรณีตากใบแผนการร้ายของกลุ่มแบ่งแยกดินแดน กับการสัมมนา

            เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2547 เหตุการณ์เริ่มจากการชุมนุมเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมให้กับผู้ประท้วงที่ ก่อความไม่สงบที่ถูกจับกุม 6 คน และต่อมารัฐได้ใช้มาตรการในการสลายการชุมนุม จนนำไปสู่การจับกุมผู้ประท้วงและมีผู้เสียชีวิตระหว่างขนส่งผู้ต้องหา 84 ศพ และสูญหายอีกจำนวนมากกว่า 60 คน

            จากเห็นการก่อนหน้าเกิดเหตุ ชาวบ้านจากที่อื่น ถูกเกณฑ์มาด้วย ไม่มีสาเหตุ บางคนโดนหลอกให้มาเที่ยว หรือ มาซื่อของ โดยที่มีการจ้างและ ให้เงินมาเที่ยวฟรี โดยส่วนมากเป็นผู้คนจากนอกพื้นที่ และมีการพบอาวุธ ของกลุ่มชายที่เข้ามาเพื่อก่อเหตุ และปลุกระดม

          เหตุการณ์แต่ระครั้ง จะมีกลุ่ม หรือองค์กร ที่ว่าแผนอยู่ และคอยสร้างเหตุต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดความไมสงบในพื้นที่ และยังปรุกระดมประชาชน ให้ขึ้นมา ก่อเหตุ ปลุกฝังความคิดผิดๆๆ

ประเด็นข้อสังเกต
  • 1. การชุมนุมที่ สภ.อ.ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ในวันที่ 25 ตุลาคม 2547 มีการจัดตั้งขึ้นมาโดยกลุ่มผู้ไม่หวังดี
  • 2. ผู้ชุมนุมพกพาอาวุธมาด้วย งานว่าผู้เข้าชุมนุมบางส่วนซุกซ่อนอาวุธมาด้วยนั้น โดยเฉพาะอาวุธสงครามและกระสุนจำนวนมากที่เจ้าหน้าที่ยึดได้หลังจากสลายการ ชุมนุมในวันนั้น และจากการที่งมอาวุธได้จากแม่น้ำต้องมีหลักฐานมาอ้างมากกว่านี้จึงจะทำให้ เชื่อได้ อย่างไรก็ดี รอยกระสุนปืนที่โรงพัก ต้นไม้หรือที่พักในสวนสาธารณะมีทิศทางมาจากกลุ่มผู้ชุมนุม และเจ้าหน้าที่ตำรวจรายหนึ่งได้รับบาดเจ็บจากกระสุนที่มีทิศทางมาจากกลุ่ม ผู้ชุมนุม ก็แสดงว่ากลุ่มผู้ชุมนุมมีอาวุธ ซึ่งคงมีจำนวนไม่มากและไม่กี่คนเท่านั้น เพราะถ้าแกนนำผู้ชุมนุมมีอาวุธมากจริงและใช้อาวุธยิงเจ้าหน้าที่แบบต่อสู้ กัน เจ้าหน้าที่คงตายและบาดเจ็บอีกหลายคน
  • 3. มาตรการที่เจ้าหน้าที่ใช้ก่อนการสลายการชุมนุมที่ สภ.อ.ตากใบ จังหวัดนราธิวาสเป็นไปตามมาตรฐานและอำนาจรัฐ
  • 4. ข้อเท็จจริงปรากฏต่อไปด้วยว่า เจ้าหน้าที่ระดับสูงคือ รอง ผอ.สสส.จชต. (นายศิวะ แสงมณี) มทภ.4 ปลัดจังหวัดนราธิวาส และผู้นำศาสนาอิสลาม และบิดาของ ชรบ.ซึ่งต้องคดีคนหนึ่งและมารดาของ ชรบ.ซึ่งต้องคดีอีกคนหนึ่ง ได้พยายามเจรจาด้วยภาษาไทยและภาษามลายูท้องถิ่นหลายครั้งเพื่อขอให้กลุ่มผู้ ชุมนุมแยกย้ายกลับไป รวมทั้งได้พูดผ่านเครื่องขยายเสียงว่าให้ผู้ชุมนุมแยกย้ายกลับไป มิฉะนั้นเจ้าหน้าที่จำต้องสลายการชุมนุม แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ
  • การควบคุมตัวผู้ชุมนุมทั้งหมดตามกฎหมายหรือไม่
  • 5. ข้อเท็จจริงจากการสอบถามผู้ชุมนุมในภายหลัง ปรากฏว่า การพูดผ่านเครื่องขยายเสียง เพื่อให้ผู้ชุมนุมแยกย้ายกันกลับไปนั้น ผู้ชุมนุมบางส่วนไม่ได้ยิน เพราะมีแกนนำในการชุมนุมพยายามโห่ร้องส่งเสียงดังอยู่เสมอ แกนนำในการ ชุมนุม เพื่อปลุกระดม ตลอดเวลาเนื่องจากกลุ่มผู้ชุมนุมมีจำนวนมาก และบางส่วนก็มีการวางแผนล่วงหน้า พร้อมทั้งมีไม้ ก้อนหินและอาจมีอาวุธอื่นๆ ซุกซ่อนอยู่ ประกอบกับภาวะความกดดันอย่างรุนแรงต่อเจ้าหน้าที่ ที่ต่อเนื่องมายาวนาน

            ก่อนและหลัง เหตุการณ์ตากใบ มีการจัดตั้ง กลุ่ม และองค์กรต่างๆๆขึ้นมา โดยมีแผนการแบ่งแยก ประเทศไทย ในทางลับ ถึงแม้ว่าปัจจัยด้านประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์ ศาสนา และความเชื่อหรืออัตลักษณ์นับเป็นองค์ประกอบที่ทำให้ประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความแปลกแยกโดยพื้นฐานไปจากประชาชนในส่วนอื่นๆของ ประเทศ แต่ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญที่สุดที่ทำให้พื้นที่แถบนี้ไม่มีความสงบมาโดยตลอด เกิดจากกลุ่มบุคคลที่รวมตัวกันต่อต้านอำนาจรัฐในรูปองค์การกู้ชาติปัตตานี โดยกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน ได้แก่

  • 1. กลุ่มแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติปัตตานี  ( The Barisan Nasional Pemberbasan Pattani/ BNPP หรือ Patani National Liberation Front)
  • 2.กลุ่มแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมาลายู (The Barisan Revolusi Nasional / BRN หรือ National Revolutionary Front)
  • 3.องค์กรปลดปล่อยรัฐปัตตานีหรือองค์การสหปัตตานีเสรี (Pesatuan Pembebasan Patani Bersatu / PPPB หรือ Patani United Liberation Organization / PULO )
  • 4. ขบวนการมูจาฮีดีนอิสลามปัตตานี (Therakan Mujahideen Islam Pattani/GMIP)
  • 5. กลุ่มแนวร่วมเพื่อเอกราชปัตตานี ( The United Front for the Independence of Pattani / BERSATU)
  • 6. กลุ่มเยาวชนกู้ชาติปัตตานี ( Pemuda Merdeka Pattani/PMP )
  • 7. สภาอูลามาปัตตานีดารุสลาม (Ulama Patani Daruslam)
  • 8. สมาคมนิสิตนักศึกษาชาวไทยมุสลิมในอินโดนีเซีย ( Persatuan Mahasiswa Papani [Selatan Thailand] Indonesia/PMIPTL)
  • 9. ขบวนการเยาวชนแห่งชาติปัตตานี (Patani National Youth Movement/PANYOM หรือ Gerakan Pemuda Kebangsaan Patani)

              โดยเหตุการณ์ต่างๆ มีกลุ่มองค์กร ต่างๆอยู่เบื้องหลัง และการจัดประชุม ทุกครั้งที่มีการ
เสวนา เหตุการณ์ภาคใต้ ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า สันติ แต่ ไม่สันติ ในแง่การโฆษณาที่มีผลประโยชน์บังหน้า โดยการการจัดตั้งองค์กร  เป็นการจัดตั้งองค์กรอำพรางในการปฏิบัติ ทั้งเพื่อการควบคุมมวลชนและแหล่งเงินทุน เช่น การจัดตั้งชมรมตาดีกา โดย
  • ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสใช้ชื่อว่า “PUSAKA” (Pusat Kebajkan Tadika) 
  • พื้นที่จังหวัดปัตตานีใช้ชื่อว่า “PUSTAKA” 
  • พื้นที่จังหวัดยะลาใช้ชื่อว่า “PERTIWI” 
  • พื้นที่จังหวัดสงขลาใช้ชื่อว่า “PUTRA” 
  • และพื้นที่จังหวัดสตูล ใช้ชื่อว่า “PANTAS” 
          เพื่อควบคุมโรงเรียนตาดีการที่ยินยอมเข้ามาอยู่ในองค์กรซึ่งการควบคุมองค์กร เหล่านี้จะอำนวยประโยชน์ทางการเมืองต่อระดับแกนนำในพื้นที่เหล่านั้นด้วย นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งองค์กรบังหน้าอื่นๆอีกหลายรูปแบบ เช่น MGO องค์กรนักศึกษา วิทยุชุมชน จัดตั้งสหกรณ์เพื่อเป็นแหล่งเงินทุน เป็นต้น

          สำหรับคนที่ติดตามความเคลื่อนไหวในชายแดนใต้หรือ "ปาตานี" วันที่ 25 ตุลาคมนี้ถือได้ว่าเป็นวันแห่งกิจกรรมอันหลากหลายเลยทีเดียวครับ มันเป็นวันครบรอบ 10 เหตุการณ์ตากใบด้วยเชิญติดตามดูว่ากลุ่ม องค์กรพวกนี้มีแผนอาไร จะทำลายความหน้าเชื่อถือ ของภาครัฐ หรือ ต้องการเอกราช จากประเทศไทย เพื่อตั้งรัฐ อิสระ

  • 1.ที่มัจลิสปัตตานีมีงาน “รำลึก 10 ปี ตากใบ” และร่วมฟัง แลกเปลี่ยนกับสานเสวนา ในหัวข้อ “ถอดบทเรียนตากใบสู่อนาคตปาตานี”http://www.deepsouthwatch.org/node/6304
  • 2. ที่ มอ.ปัตตานี มีรณรงค์ "ดอกชบาบานปลายตุลา"http://www.deepsouthwatch.org/node/6307
  • 3. ที่ ม.รามฯ กรุงเทพฯ มีเสวนา "10 ปีตากใบ สะท้อนรัฐไทยในการสร้างสันติภาพปาตานี" http://www.deepsouthwatch.org/node/6305
  • 4.ที่สนามกีฬากลาง อบจ.ปัตตานี มีงานสลาตันปูติฮฺhttp://www.deepsouthwatch.org/node/6294
  • 5.ที่โรงแรมซีเอสปัตตานี เริ่มต้นการสัมมนานานาชาติ "เสริมสร้างความเข้มแข็งภาษามลายูสู่ประชาคมอาเซียน ครั้งที่ 2"http://www.deepsouthwatch.org/node/6299


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น

Powered By Blogger

หน้าเว็บ

ผู้ติดตาม