วันจันทร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555

มุสลิมเผาวัดพุทธวอดวายที่บังกลาเทศ


มุสลิม บุกเผาวัดพุทธในบังกลาเทศ โดยข้ออ้างแบบเดิม ๆ 

นี่คืออีกหนึ่งตัวอย่าง ของ อัตลักษณ์มุสลิม

สลด!เผา'วัดพุทธ'บังคลาเทศวอด

ชาวมุสลิมในบังกลาเทศนับหมื่นชุมนุมประท้วง-เผาวัดพุทธวอด 5 แห่ง อ้างเหตุมีภาพชายหนุ่มชาวพุทธเหยียบคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ในเฟซบุ๊ก แนะใช้ขันติธรรมแก้ขัดแย้ง

            สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันอาทิตย์( 30 ก.ย.) ว่าชาวมุสลิมบังกลาเทศราว 2.5 หมื่นคนร่วมชุมนุมประท้วงก่อนลุกลามเป็นการจราจลจนเกิดการเผาวัดพุทธ 5 แห่งและบ้านเรือนร่วม 100 หลังคาเรือนในเมืองรามูและหมู่บ้านใกล้เคียง  โดยอ้างว่าเป็นการตอบโต้ที่มีภาพชายหนุ่มผู้นับถือศาสนาพุทธโพสท์ภาพตนเองกำลังเหยียบย่ำคัมภีร์อัลกุรอานบนเฟซบุ๊ก



             นายจอยนูล บารี ผู้บริหารท้องถิ่นอธิบายว่าการประท้วงลุกลามจนกลายเป็นการจราจลที่ไม่สามารถควบคุมได้และทำลายบ้านเรือนของชาวพุทธ เผาทำลายวัด ตั้งแต่ช่วงเที่ยงคืนวันเสาร์ (29 ก.ย.) ต่อเนื่องจนถึงเช้าวันอาทิตย์ (30 ก.ย.) โดยมีบ้านเรือนอย่างน้อย 100 หลังถูกทำลาย ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้ร้องขอกำลังทหารและกองกำลังรักษาชายแดนเข้าระงับเหตุการจราจลดังกล่าว และได้ออกคำสั่งห้ามการชุมนุมในที่สาธารณะเป็นการชั่วคราวเพื่อป้องกันการเกิดเหตุจราจลขึ้นมาอีกครั้ง ทั้งยังยืนยันว่าเจ้าหน้าที่สามารถควบคุมสถานการณ์ไว้ได้แล้ว


        

                   เมืองรามูอยู่ห่างจากกรุงธากา เมืองหลวงของบังกลาเทศราว 350 กิโลเมตรและเป็นเมืองชายแดนติดต่อกับประเทศพม่า ซึ่งเป็นพื้นที่อาศัยของชาวพุทธที่เป็นชนกลุ่มน้อยในบังกลาเทศ โดยมีประชากรที่นับถือศาสนาพุทธเพียง 0.7% จากจำนวนประชากร
ทั้งหมด 170 ล้านคนของบังกลาเทศ

                   กลุ่มผู้ประท้วงและก่อจราจลได้เรียกร้องให้ทางการจับกุมเจ้าของบัญชีเฟซบุ๊กที่ใช้ชื่อว่า อัตตาม บารัว ที่เป็นผู้โพสท์ภาพดูหมิ่นชาวมุสลิมดังกล่าว

                   ทั้งนี้พื้นที่ชายแดนตะวันออกเฉียงใต้ของบังกลาเทศที่ติดต่อกับรัฐยะไข่ของพม่า กลายเป็นพื้นที่ซึ่งมีความตึงเครียดในด้านการแบ่งแยกดินแดน ตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา หลังจากเกิดเหตุการปะทะระหว่างกลุ่มมุสลิมโรฮิงญากับชาวพุทธในรัฐยะไข่ของพม่า แม้ที่ผ่านมาจะมีเหตุการปะทะระหว่างชาวพุทธกับมุสลิมเกิดขึ้นน้อยครั้งมาก



                   นอกจากนั้นในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมาชาวมุสลิมในบังกลาเทศหลายหมื่นคนยังได้ร่วมชุมนุมประท้วงต่อต้านภาพยนตร์เรื่องอินโนเซนท์ออฟมุสลิมส์ และรัฐบาลสหรัฐอเมริกาที่ปล่อยให้มีการสร้างและเผยแพร่ภาพยนตร์ดูหมิ่นศาสดาในศาสนาอิสลามเรื่องนี้

                  จากเหตุการณ์ดังกล่าวพระมหาหรรษา ธัมมหาโส  ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร) นักศึกษาหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับ สูง (ปปร.) รุ่นที่ 15 สถาบันพระปกเกล้า เตือนสติผ่านทางเฟซบุ๊กส่วนตัว (Hansa Dhammahaso) ความว่า "สังคมโลกของเราในยุคปัจจุบันนี้ ขาดขันติธรรมทางศาสนามากเหลือเกิน!!! ขันติธรรมในความเป็นพหุวัฒนธรรมจึงมีความสำคัญต่อการอยู่ร่วมกันในฐานะมนุษย์ที่รักความสุข เกลียดกลัวความทุกข์เฉกเช่นเดียวกัน สงครามโลกครั้งที่ ๓ จะเป็นสงครามที่เกิดจากขาดขันติธรรมทางศาสนา!!!! อานุภาพของการขาดจะนำไปสู่การทำลายล้างมนุษยชาติอย่างน่าสยดสยอง....

                    การเข้าถึงแก่นแท้ของศาสนาคือทางรอดของมนุษยชาติ มนุษยชาติควรกลับไปศึกษา และทำความเข้าใจแก่นแท้ของศาสนาตัวเองให้แจ่มชัด เพื่อจะได้อยู่ร่วมกับเพื่อนร่วมโลกได้อย่างมีความสุขท่ามกลางความแตกต่างทางความเชื่อ และวัฒนธรรมที่หลากหลาย  




ชาวมุสลิมบุกเผาวัด-บ้านเรือนชาวพุทธในบังกลาเทศ ไม่พอใจโพสต์ภาพหมิ่น “คัมภีร์กุรอ่าน”

                    ขันติธรรมทางศาสนา (Religious Tolerance) จึงเป็นหัวใจสำคัญของการอยู่ร่วมกันกับกลุ่มคนต่างๆ ที่มีความความเชื่อทางศาสนาที่แตกต่างกัน แนวทางเช่นนี้ จะนำไปสู่ความอดทดต่อความแตกต่างกันทางศาสนา ภาษา ชาติพันธุ์ ความเชื่อ และอุดมการณ์ทางความคิด เพราะจะก่อให้เกิดความเคารพ และการยอมรับนับถือศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรมที่หลากหลาย วิธีคิด วิถีการแสดงออก และวิถีชีวิตที่แตกต่างกันไป โดยพร้อมที่จะรับฟัง และปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความแตกต่างกันอย่างมีสติ บนฐานของความรักและปรารถนาดีต่อเพื่อนมนุษย์ร่วมโลกที่เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทุกถ้วนทั่วตัวคน"


นี่่คือสิ่งที่ คัมภรีอ้าง หรือศาสดาของคนเหล่านี้อนุญาตให้ทำได้ หรือ ?


เอเอฟพี/ASTV ผู้จัดการออนไลน์-ทางการบังกลาเทศเผยเกิดเหตุกลุ่มชาวมุสลิมจำนวนกว่า 25,000 คนก่อเหตุจุดไฟเผาวัดพุทธอย่างน้อย 5 แห่งและบ้านเรือนของประชาชนอีกอย่างน้อย 100 หลังคาเรือน ที่เมืองรามู ทางภาคตะวันออกของประเทศใกล้พรมแดนพม่าในวันนี้ (30) คาด สาเหตุเกิดจากความไม่พอใจ หลังมีข่าวว่าชายหนุ่มชาวพุทธรายหนึ่งในพื้นที่อัพโหลดรูปภาพที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อดูหมิ่นพระคัมภีร์กุรอ่านของศาสนาอิสลาม ผ่านทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ชื่อดัง “เฟซบุ๊ก” 
       
        เหตุเผาวัดพุทธและบ้านเรือนของประชาชนดังกล่าวเกิดขึ้นที่เมืองขนาดเล็กที่มีชื่อว่ารามู ทางภาคตะวันออกของบังกลาเทศ ห่างจากกรุงธากาเมืองหลวงของประเทศราว 350 กิโลเมตร โดยเหตุการณ์ซึ่งได้ลุกลามอย่างรวดเร็วจนเจ้าหน้าที่ไม่อาจควบคุมสถานการณ์ได้นี้ เกิดขึ้นตั้งแต่เวลาประมาณเที่ยงคืนที่ผ่านมา ต่อเนื่องมาจนถึงตอนเช้าตามเวลาท้องถิ่น เป็นเหตุให้มีวัดพุทธซึ่งบางแห่งมีอายุเก่าแก่หลายร้อยปี ตลอดจนบ้านเรือนของชาวพุทธถูกเผาได้รับความเสียเป็นจำนวนมาก แต่ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า มีผู้เสียชีวิตจากเหตุรุนแรงครั้งนี้หรือไม่ และไม่มีการเปิดเผยว่า มีการจับกุมผู้ก่อเหตุหรือไม่เช่นกัน
       
       ทางด้านชายชาวพุทธผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นชนวนทำให้เกิดการจลาจลคราวนี้ ได้บอกกับสื่อมวลชนท้องถิ่นว่า ตัวเขาไม่ได้เป็นผู้โพสต์ภาพดังกล่าว แต่มีใครบางคนที่ "แท็ก" (tag) ภาพนั้นในแอคเคานต์ (account) เฟซบุ๊ก ของเขา ทั้งนี้เวลานี้ชายผู้นี้ได้หลบหนีไปซ่อนตัวแล้ว ขณะที่พวกเจ้าหน้าที่แจ้งว่า ตำรวจยังได้เข้าอารักขาคุ้มครองมารดาและน้าของชายผู้นี้ด้วย
       
        ล่าสุดทางการบังกลาเทศได้ส่งกำลังทหารและเจ้าหน้าที่พิทักษ์ชายแดนเข้ามารักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่และมีการประกาศห้ามการชุมนุมในที่สาธารณะในพื้นที่ดังกล่าวเพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุรุนแรงเพิ่มเติม ขณะที่รัฐมนตรีมหาดไทย รัฐมนตรีอุตสาหกรรม และผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของบังกลาเทศ ได้เร่งเดินทางลงพื้นที่เกิดเหตุตั้งแต่ช่วงเช้าที่ผ่านมาเพื่อควบคุมสถานการณ์
       
        ขณะเดียวกันมีข้อมูลว่า มีหมู่บ้านชาวพุทธไม่ต่ำกว่า 15 แห่งถูกบุกโจมตีเมื่อคืนที่ผ่านมา และมีนับร้อยหลังที่ถูกปล้นชิงทรัพย์สิน
       
        ทั้งนี้ กว่าร้อยละ 90 ของประชากร 153 ล้านคนในบังกลาเทศเป็นชาวมุสลิม ขณะที่ชาวพุทธมีสัดส่วนน้อยกว่าร้อยละ 1

Attacks on Buddhists were 'planned'


Sun, Sep 30th, 2012 5:48 pm BdST
 
Mintu Chowdhury
Chittagong correspondent


Ramu/Cox's Bazar, Sep 30 (bdnews24.com)—Home Minister Mohiuddin Khan Alamgir on Sunday alleged the attacks on a pre-dominantly Buddhist village in Cox's Bazar's Ramu Upazila was "planned" and vowed to bring the perpetrators to justice.

"The attack was conducted in a coordinated manner. Temples and houses were set on fire using patrol and gun powder. It would have been impossible if the attacks were not planned," he said after visiting the affected locality.

The minister sought everyone's assistance in capturing the culprits. "We came here on the orders of the Prime Minister. All that is needed to be done will be done to swiftly bring the culprits to justice."

Alamgir said the government will provide financial assistance for reconstruction of the damaged temples and houses

Local residents alleged that the attacks and damages were mostly caused due to the negligence of the police and Fire Service. The Home Minister said a committee headed by an Additional Divisional Commissioner of Chittagong will investigate whether negligence on anybody's part was behind the mayhem.

A mob had torched and vandalised the Buddhist village in one of the worst religious attacks in Bangladesh which appeared to have been triggered by a Facebook posting allegedly defaming the Quran.

Seven Buddhist Viharas, around 30 houses and shops were torched in the attacks that started at 11:30pm on Saturday and lasted until around 4am on Sunday. More than a hundred houses and shops were also reportedly attacked, vandalised and looted.

Alamgir and Industries Minister Dilip Barua have visited the spot. Inspector General of Police (IGP) Hasan Mahmood Khandaker and other top officials were also present during the visit.

They visited the damaged 300-year old Ramu Sima Vihara of Merong Loa Barua at around 1:30pm on Sunday.

The ministers visited the affected areas and spoke to the Buddhist monks and members of the temple managing committee. They also talked to the people whose houses were damaged in the attacks.

At a short rally held at the Ramu Bazar, Dilip Barua alleged a 'group of conspirators' was behind the attack but did not take any names.

Like Alamgir, he too vowed to bring the culprits to book. "The perpetrators will be tried no matter how powerful they are."

Barua requested everyone's assistance to restore communal harmony in the area.

Prime Minister Sheikh Hasina, who is now in New York, expressed dismay over the incident and ordered action against those responsible for the attack.

Bangladesh's Permanent Representative to the United Nations A K Momen told bdnews24.com Hasina had told the authorities that the government will not tolerate any activity that hampered the communal harmony.

The United People's Democratic Front (UPDF) has condemned the attack and appealed to everyone to stand by those harmed.

bnews24.com/mc/zk/bd/1720h
 
 
 



ชาวมุสลิมในบังกลาเทศนับหมื่นชุมนุมประท้วง-เผาวัดพุทธวอด 5 แห่ง อ้างเหตุมีภาพชายหนุ่มชาวพุทธเหยียบคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ในเฟซบุ๊ก แนะใช้ขันติธรรมแก้ขัดแย้ง

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันอาทิตย์( 30 ก.ย.) ว่าชาวมุสลิมบังกลาเทศราว 2.5 หมื่นคนร่วมชุมนุมประท้วงก่อนลุกลามเป็นการจราจลจนเกิดการเผาวัดพุทธ 5 แห่งและบ้านเรือนร่วม 100 หลังคาเรือนในเมืองรามูและหมู่บ้านใกล้เคียง  โดยอ้างว่าเป็นการตอบโต้ที่มีภาพชายหนุ่มผู้นับถือศาสนาพุทธโพสท์ภาพตนเอง กำลังเหยียบย่ำคัมภีร์อัลกุรอานบนเฟซบุ๊ก

นายจอยนูล บารี ผู้บริหารท้องถิ่นอธิบายว่าการประท้วงลุกลามจนกลายเป็นการจราจลที่ไม่สามารถ ควบคุมได้และทำลายบ้านเรือนของชาวพุทธ เผาทำลายวัด ตั้งแต่ช่วงเที่ยงคืนวันเสาร์ (29 ก.ย.) ต่อเนื่องจนถึงเช้าวันอาทิตย์ (30 ก.ย.) โดยมีบ้านเรือนอย่างน้อย 100 หลังถูกทำลาย ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้ร้องขอกำลังทหารและกองกำลังรักษาชายแดนเข้าระงับเหตุการ จราจลดังกล่าว และได้ออกคำสั่งห้ามการชุมนุมในที่สาธารณะเป็นการชั่วคราวเพื่อป้องกันการ เกิดเหตุจราจลขึ้นมาอีกครั้ง ทั้งยังยืนยันว่าเจ้าหน้าที่สามารถควบคุมสถานการณ์ไว้ได้แล้ว
เมืองรามูอยู่ห่างจากกรุงธากา เมืองหลวงของบังกลาเทศราว 350 กิโลเมตรและเป็นเมืองชายแดนติดต่อกับประเทศพม่า ซึ่งเป็นพื้นที่อาศัยของชาวพุทธที่เป็นชนกลุ่มน้อยในบังกลาเทศ โดยมีประชากรที่นับถือศาสนาพุทธเพียง 0.7% จากจำนวนประชากรทั้งหมด 170 ล้านคนของบังกลาเทศ
      
กลุ่มผู้ประท้วงและก่อจราจลได้เรียกร้องให้ทางการจับกุมเจ้าของบัญชีเฟซบุ๊ก ที่ใช้ชื่อว่า อัตตาม บารัว ที่เป็นผู้โพสท์ภาพดูหมิ่นชาวมุสลิมดังกล่าว
      
ทั้งนี้พื้นที่ชายแดนตะวันออกเฉียงใต้ของบังกลาเทศที่ติดต่อกับรัฐยะไข่ของ พม่า กลายเป็นพื้นที่ซึ่งมีความตึงเครียดในด้านการแบ่งแยกดินแดน ตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา หลังจากเกิดเหตุการปะทะระหว่างกลุ่มมุสลิมโรฮิงญากับชาวพุทธในรัฐยะไข่ของ พม่า แม้ที่ผ่านมาจะมีเหตุการปะทะระหว่างชาวพุทธกับมุสลิมเกิดขึ้นน้อยครั้งมาก
      
นอกจากนั้นในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมาชาวมุสลิมในบังกลาเทศหลายหมื่นคนยัง ได้ร่วมชุมนุมประท้วงต่อต้านภาพยนตร์เรื่องอินโนเซนท์ออฟมุสลิมส์ และรัฐบาลสหรัฐอเมริกาที่ปล่อยให้มีการสร้างและเผยแพร่ภาพยนตร์ดูหมิ่นศาสดา ในศาสนาอิสลามเรื่องนี้
   
จากเหตุการณ์ดังกล่าวพระมหาหรรษา ธัมมหาโส  ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร) นักศึกษาหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับ สูง (ปปร.) รุ่นที่ 15 สถาบันพระปกเกล้า เตือนสติผ่านทางเฟซบุ๊กส่วนตัว (Hansa Dhammahaso) ความว่า "สังคมโลกของเราในยุคปัจจุบันนี้ ขาดขันติธรรมทางศาสนามากเหลือเกิน!!! ขันติธรรมในความเป็นพหุวัฒนธรรมจึงมีความสำคัญต่อการอยู่ร่วมกันในฐานะ มนุษย์ที่รักความสุข เกลียดกลัวความทุกข์เฉกเช่นเดียวกัน สงครามโลกครั้งที่ ๓ จะเป็นสงครามที่เกิดจากขาดขันติธรรมทางศาสนา!!!! อานุภาพของการขาดจะนำไปสู่การทำลายล้างมนุษยชาติอย่างน่าสยดสยอง....
   
การเข้าถึงแก่นแท้ของศาสนาคือทางรอดของมนุษยชาติ มนุษยชาติควรกลับไปศึกษา และทำความเข้าใจแก่นแท้ของศาสนาตัวเองให้แจ่มชัด เพื่อจะได้อยู่ร่วมกับเพื่อนร่วมโลกได้อย่างมีความสุขท่ามกลางความแตกต่าง ทางความเชื่อ และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
   
ขันติธรรมทางศาสนา (Religious Tolerance) จึงเป็นหัวใจสำคัญของการอยู่ร่วมกันกับกลุ่มคนต่างๆ ที่มีความความเชื่อทางศาสนาที่แตกต่างกัน แนวทางเช่นนี้ จะนำไปสู่ความอดทดต่อความแตกต่างกันทางศาสนา ภาษา ชาติพันธุ์ ความเชื่อ และอุดมการณ์ทางความคิด เพราะจะก่อให้เกิดความเคารพ และการยอมรับนับถือศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรมที่หลากหลาย วิธีคิด วิถีการแสดงออก และวิถีชีวิตที่แตกต่างกันไป โดยพร้อมที่จะรับฟัง และปฏิบัติต่อบุคคลที่มีความแตกต่างกันอย่างมีสติ บนฐานของความรักและปรารถนาดีต่อเพื่อนมนุษย์ร่วมโลกที่เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทุกถ้วนทั่วตัวคน"
http://narater2010.blogspot.com/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น

Powered By Blogger

หน้าเว็บ

ผู้ติดตาม